ที่ตั้ง: สวนอินทผลัมเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสุพรรณบุรี 22 หมู่ 4 บ้านท่าเตียน ตำบลเดิมบาง อำเภอเดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี 72120

สายพันธุ์ของอินทผลัม

บาฮี (Barhee)

โคไนซี่ (Khonaizi)

อัจวะห์ (Ajwah)

คาลาส (Khalas)

สุกการี (Sukkari)

ลูลู่ (Lulu)

อัลบาร่า (Anbarah)

ซูลตาน่า (Sultana)

ชิชิ (Shi Shi)

แซมลี่ (Zamli)

นาบุชซาอีฟ (Nabutsaif)

ฮายานี่ (Hayany)

นาวาเดอร์ (Nawader)

เมจจูล (Medjool)

อัมเอ็ดดาฮาน (Um ed dahan)

กานามี่้ (Ganami Male)

ฮัซซาวี่Hassawi

สูตรฮอร์โมนไข่

หน่อกล้วยสำคัญอย่างไร

การดูแลต้นอินทผลัม

โรคแมลงศัตรูอินทผาลัม

ทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง

 
สถิติผู้เข้าเยี่ยมชม
เริ่มใช้วันที่ 1 กันยายน 2562
Check the Visitors
Count Hits
 
 

 

สายพันธุ์บาฮี (Bahee)

  • ชื่อสายพันธุ์มาจากลมร้อนที่ทำให้มันสุก (name after a hot wind supposed to ripen it) อินทผลัมพันธุ์นี้มีต้นกำเนิด ทางตอนใต้ของประเทศ อีรักได้รับความนิยมเป็นอย่างมากเพราะให้ผลผลิตดกถึง 200-300 กิโล/ต้น ถ้าการจัดการต้นอินทผลัมสมบูรณ์ และเป็นพันธุ์ที่สามารถกินสดได้เนื่องด้วยมีปริมาณเทนนินอยู่น้อยมาก สีของผลอินทผาลัมพันธุ์บาฮีนั้น สีเหลืองทอง รูปทรงค่อนข้างกลม น้ำหนักโดยเฉลี่ยของอินทผลัมพันธุ์คือ 10.5 g ขนาดของโดยเฉลี่ยของอินทผลัมพันธุ์นี้คือ 2.9 x 2.3 ซม. ความหนาเนื้อโดยเฉลี่ยของอินทผลัมพันธุ์นี้คือ 10.7 cm. อินทผลัมบาฮีนั้นเป็นพันธุ์ที่โตช้ากว่าอินทผลัมพันธุ์อื่นๆ อินทผลัมบาฮีนั้นเป็นพันธุ์ที่ทางใบยาว 3.75 - 4 ม. ฉะนั้นระยะปลูกของอินทผลัมพันธุ์นี้ควรจะอยู่ที่ 8x8 เป็นอย่างน้อย
  • ปัจจุบันอินทผลัมบาฮี ได้ถูกนำไปปลูกในทวีปต่างๆทั่วโลกทั้งตะวันออกกลาง,อินเดีย เอฟริกา เพราะอเมริกาได้นำเข้าสายพันธุ์นี้ไปปลูกใน California ตั้งแต่ปี 1912-1913 และทำตลาดไว้จนเป็นที่ยอมรับในรสชาติจากคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย อินทผลัมพันธุ์นี้น่าจะสุกช่วงปลายกรกฎาคม-กลางสิงหาคม ทำให้อินทผลัมพันธุ์นี้ไม่ค่อยเหมาะที่จะนำไปทำผลแห้งเพราะเป็นช่วงฤดูฝนซึ่งจะทำให้อินทผลัมพันธุ์นี้เน่าเสียได้ง่าย

รูปภาพอินผลัมบาฮี

สวนอินทผลัมเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสุพรรณบุรี
ที่อยู่ : 22 หมู่ 4 บ้านท่าเตียน ตำบลเดิมบาง อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 72120
082-8936-978 0828936978 สวนอินทผลัม

Not reserved

Free Web Hosting